Wednesday, November 5, 2014

โค้งดิ่ง

โค้งดิ่ง(Vertical curve)


การก่อสร้างถนนไม่สามารถออกแบบให้ระดับก่อสร้างอยู่ในระดับราบได้ตลอดความยาวถนน เนื่องจากลักษณะภูมิประเทศมีลักษณะที่ไม่สม่ำเสมอ ดังนั้นจึงต้องอาศัยโค้งในแนวดิ่ง มาประกอบกับการออกแบบถนน โค้งในแนวดิ่ง(vertical curve) มี 2 ประเภทคือ โค้งคว่ำ (Crest vertical curve) และโค้งหงาย (Sag vertical curve)







คำนวณค่าระดับบนโค้งดิ่งด้วยวิธี Offset Form
กำหนดให้
 PVC =จุดเริ่มโค้ง(point of curvature)
      PVT =จุดสุดโค้ง(point of tangency)
 PVI =จุดเปลี่ยนโค้ง(point of intersection)
 L =ความยาวโค้ง(length of curve) เป็นความยาวโค้งในแนวราบ(horizontal surface)
 ครึ่งหนึ่งของความยาวโค้งในแนวราบ(L/2)
 g1=เกรด(%)ของเส้นสัมผัสด้านที่ผ่าน PC (Back tangent)
 g2=เกรด(%)ของเส้นสัมผัสด้านที่ผ่าน PT (Forward tangent)
 A =ผลต่างทางพีชคณิตของเกรดระหว่าง PC และPT ที่จุด PI (A = g2 – g1)
A > 0  โค้งดิ่งหงาย (sag curve)
A < 0  โค้งดิ่งคว่ำ (summit curve)
 e =ระยะในแนวดิ่งระหว่าง PI กับเส้นโค้งพาราโบลา
  = ผลต่างของระยะในแนวราบจากจุดเริ่มต้นโค้ง (PVC) ถึงจุด (STA) ใดๆบนเส้นโค้ง
         = ผลต่างของระยะในแนวดิ่ง (offset) จากจุด (STA) ใดๆบนเส้นโค้งถึงเส้นเกรด
จากสมการ พาราโบลา 



No comments:

Post a Comment