โค้งกลับทิศทาง : Reversed curve
โค้ง
ผสมที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ตรงข้ามกัน ประกอบด้วยโค้ง สองโค้งมีจุด PRC (Point of reverse curve) เป็นจุดร่วมหรือมีเส้น สัมผัสที่ต่อเชื่อมระหว่างโค้ง เรียกว่า เส้น
สัมผัสร่วม (Intermediate tangent)

รูปที่ 1 การออกแบบโค้งผสม
![]() รูปที่ 2 ชนิดเส้นสัมผัสร่วม |
รูปที่
3
การวางเส้นโค้งผสม
Intermediate tangent จะอยู่ระหว่างโค้ง
ทำหน้า ที่แยกโค้ง สองโค้ง ออกจากกัน และควรมีความยาวประมาณ 100 เมตร
|
โค้งกลับทิศทางต่อกันที่จุด PRC
1. ประเภทที่ 1: รัศมียาวไม่เท่ากัน คำนวณเสมือนโค้ง วงกลมสองวงต่อกัน
2. ประเภทที่ 2: รัศมียาวเท่ากันคำนวณหารัศมีที่ใช้กับทั้งสองโค้ง
ได้ดังนี้
โค้งผสม : Compound curve
โค้ง ที่ประกอบด้วยโค้งวงกลมหลายโค้ง มาต่อกัน
และจุศูนย์กลางโค้ง ทั้งหมดจะอยู่ซีกเดียวกันของเส้นสัมผัส และรัศมีของโค้ง
ที่เชื่อมต่อกันจะยาวไม่เท่ากัน จุดที่ความยาวโค้ง ต่อกัน คือ Point
ofcompound curve (PCC)
ส่วนสำคัญของโค้ง ผสม: มุมเหของโค้ง ร่วม (ΣΔi) รัศมีของโค้งร่วม (Ri) เส้น สัมผัสเส้น ยาว/เส้น สั้น (TL/TS) และ Δ ของโค้ง ผสม
โค้ง ผสมชนิด 2 ศูนย์กลาง : Two center
compoundcurve
ข้อมูลที่ทราบจากการสำรวจภาคสนาม: Δi ของแต่ละโค้ง ย่อยและค่า R ของแต่ละโค้งย่อย
โค้งวงกลม :CIRCULAR CURVE
เป็นโค้งราบ
นิยมใช้กับถนนหรือทางรถไฟที่ต้องการให้ยวดยานเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงใช้แทนโค้งอันตราย
(Sharp
curve) ทางเลี้ยวทางแยกต่างระดับ (Interchange) ทางแยก (Intersection) ช่วยให้คนขับสามารถค่อยๆ
บังคับรถให้เลี้ยวได้ง่ายในขณะที่ใช้ความเร็วสูง ทำให้รถไม่เสียหลัก
1. แนวคิดลดรัศมีของโค้งวงกลม (R) ลงเท่ากับ P
2. แนวคิดเลื่อนโค้งวงกลมลงมาโดยที่โค้งไม่เปลี่ยนแปลงเลย (Shift
circular curve)
3. แนวคิดให้รัศมีโค้ง และองศาโค้ง เหมือนเดิม
และจุดศูนย์กลางคงที่แต่เลื่อนเส้น สัมผัสโค้ง วงกลมออกไป (Shift tangent
line)
4. เนื่องจากโค้ง วงกลมเดิมเป็นโค้ง อันตราย จึงเปลี่ยนเป็นโค้ง
ผสมเพื่อให้สามารถใส่ Spiral curve ได้
No comments:
Post a Comment